วันอังคารที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

บันทึกครั้งที่ 11

การสอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์


หน่วยยานพาหนะ
-ประโยชน์ของยานพาหนะแต่ละประเภท



หน่วยยานพาหนะ
- ความปลอดภัยในการใช้ยานพาหนะชนิดต่างๆ



หน่วยอาหารดีมีประโยชน์ 
- ประโยชน์ของอาหาร 5 หมู่ 



หน่วยสัตว์น่ารัก
- สัตว์ป่ามี 2 ประเภท คือ สัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า



หน่วยผักสดสะอาด
-ประโยชน์ของผัก


หน่วยผักสดสะอาด
-วิธีการปลูกผัก ขั้นตอนในการปลูกผักคะน้าลงในกระถาง




หน่วยผักสดสะอาด
- การประกอบอาหารเกี่ยวกับผัก เช่น แครอทชุปแป้งทอด ถั่วฝักยาวชุบแป้งทอด



หน่วยกลางวันกลางคืน
- ประโยชน์ของกลางวันกลางคืน



บันทึกครั้งที่ 10

การสอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์

หน่วยกลางวันกลางคืน (วันอังคาร)
- ลักษณะของกลางวัน มีดวงอาทิตย์ มีแสงแสว่าง
- ลักษณะของตอนกลางคืน มีพระจันทร์ มืด และมองเห็นดวงดาว



หน่วยยานพาหนะ (วันอังคาร)
- ส่วนประกอบของยานพาหนะทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ



หน่วยยานพาหนะ (วันพุธ)
- การดูแลรักษายานพาหนะ เช่น การล้างรถ ฯลฯ



หน่วยครอบครัวของฉัน (วันพุธ)
- บุคคลในครอบครัวมีใครบ้าง และแต่ละคน ทำหน้าที่อะไร



หน่วยครอบครัวของฉัน (วันพฤหัสบดี)
-สอนความสัมพันธ์กัน ระหว่างในครอบครัว เช่น ปู่-ย่า ตา-ยาย  พ่อ-แม่ ลุง-ป้า พี่-น้อง



หน่วยอาหารดีมีประโยชน์
- ให้เด็กแยกประหมู่อาหาร 5 หมู่




บันทึกครั้งที่ 9



การสอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์

หน่วย อาหารหลัก 5 หมู่ (วันจันทร์-วันอังคาร)


ท่องคำคล้องจองเกี่ยวกับอาหารทั้ง 5 หมู่ และอาหารทั้ง5 หมู่นั้นประกอบด้วย
หมู่ 1 โปรตีน ประกอบด้วย เนื้อสัตว์ ไข่ นม ถั่ว โปรตีน
หมู่ 2 คาร์โบไฮเดรต ประกอบด้วย ข้าวแป้ง น้ำตาล เผือก มัน
หมู่ 3 เกลือแร่หรือแร่ธาตุ ประกอบด้วย พืชผักชนิดต่างๆ
หมู่ 4 วิตามิน ประกอบด้วย ผลไม้ชนิดต่างๆ
หมู่ 5 ไขมัน 


หน่วยข้าว (วันจันทร์-วันอังคาร)


ชนิดของข้าว
1. ข้าวหอมมะลิ
2. ข้าวเหนียว
3. ข้าวขาว
4. ข้าวเพื่อสุขภาพ เช่น ข้าวกล้อง ข้าวไรซ์เบอรี่ ข้าวมะลิแดง ข้าวสีนิล ข้าวมันปู เป็นต้น

ตารางการเปรียบเทียบของข้าว 2 ชนิด คือ ข้าวจ้าวและข้าวเหนียว

บันทึกครั้งที่ 8

การสอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์

หน่วยครอบครัวของฉัน (วันจันทร์)
- สอนเกี่ยวกับสมาชิกในครอบครัวมี ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้าน น้า อา พ่อ แม่ พี่ น้อง



หน่วยยานพาหนะ (วันจันทร์)
- ยานพาหนะมี 3 ชนิด ประกอบด้วย ยานพาหนะทางอากาศ ยานพาหนะทางบก และยานพาหนะทางน้ำ



หน่วยผักสดสะอาด (วันจันทร์)

บันทึกครั้งที่ 7

การสอนแบบ PROJECT APPROACH หรือการสอนแบบโครงการ

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การสอนแบบโครงการ

       การสอนแบบโครงการ หมายถึง การจัดการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งซึ่งให้ความสำคัญกับเด็ก ส่งเสริมให้เด็กแสวงหาคำตอบจากการเรียนเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างลุ่มลึกเพื่อสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยที่เด็กหรือครูร่วมกันกำหนดเรื่องที่ต้องการเรียนรู้ แล้วดำเนินการแสวงหาความรู้ด้วยกระบวนการแก้ปัญหา โดยครูเป็นผู้อำนวยความสะดวกให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงและจากแหล่งเรียนรู้
      
        วิธีจัดการเรียนการสอนมี 4 ระยะ คือ


  • ระยะที่ 1 เริ่มต้นโครงการ เด็กจะร่วมกันคิดเรื่องที่สนใจ
  • ระยะที่ 2 ระยะวางแผนโครงการ เป็นช่วงเวลาที่กำหนดจุดประสงค์ว่าต้องการเรียนรู้อะไร กำหนดขอบเขตเนื้อหา ระยะเวลาและวิธีการศึกษา
  • ระยะที่ 3 ดำเนินโครงการตามที่กำหนดไว้ ที่เน้นระบวนการแก้ปัญหา จัดเป็นหัวใจของการสอนแบบโครงการ เพราะเด็กจะได้รับข้อมูลใหม่จากประสบการณ์ตรงหรือเป็นแหล่งข้อมูลพื้นฐานเพราะเด็กได้สนทนา พูดคุยกับบุคคล และสืบค้นจากแหล่งเรียนรู้ ขณะเดียวกันเด็กสามารถค้นความรู้จากแหล่งข้อมูลรอง (Secondary Sources) เช่น การดูวีดีทัศน์ การอ่านหนังสือ เป็นต้น
  • ระยะที่ 4 สรุปโครงการ ครูและเด็กร่วมวางแผนสรุปโครงการ เป็นขั้นตอนการประเมินโครงการ ทบทวนการปฏิบัติ และวางแผนโครงการใหม่ วิธีการสรุปโครงการอาจจะให้เด็กนำผลงานที่ได้รับมอบหมายมาแสดงต่อครูแล้วอภิปรายประเด็นปัญหา หรือให้เด็กนำเสนอผลงาน ในรูปของการจัดแสดง จัดเป็นนิทรรศการ หรือสาธิตผลงาน

บันทึกครั้งที่ 6

บันทึกครั้งที่ 5

กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ

            กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ หมายถึง กิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายอย่างอิสระ โดยใช้เสียงเพลง จังหวะ และทำนอง คำคล้องจอง หรือเครื่องดนตรีประกอบการเคลื่อนไหว เพื่อส่งเสริมให้เด็กเกิดจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ เรียนรู้จังหวะ และควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองได้

การสอนกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ (วันอังคาร)
1. หน่วยยานพาหนะ
2. หน่วยผักสะอาด
3. หน่วยครอบครัว
4. หน่วยสัตว์น่ารัก
5. หน่วยข้าว




บันทึกครั้งที่ 11

การสอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์ หน่วยยานพาหนะ -ประโยชน์ของยานพาหนะแต่ละประเภท หน่วยยานพาหนะ - ความปลอดภัยในการใช้ยานพาหนะชนิดต่า...